top of page
ค้นหา
รูปภาพนักเขียนniracha payyakul

โควิด ไม่มีอาการแล้ว ยังมีเชื้ออยู่หรือไม่หาคำตอบได้ในบทความนี้

อัปเดตเมื่อ 7 ธ.ค. 2564

การรักษาโควิดนั้นหลังจากที่เรารักษาหายแล้ว ผู้ป่วยยังคงสามารถกลับมาเป็นได้อีกแม้เชื้อ โควิด ไม่มีอาการแล้ว แต่จะมีโอกาสที่เกิดได้น้อยมากซึ่งปัจจัยสำคัญขึ้นอยู่กับร่างกายของแต่ละคน ว่าระบบการทำงานภายในร่างกายและระบบภูมิคุ้มกันสามารถกำจัดเชื้อที่ยังหลงเหลืออยู่ในร่างกายได้มากเพียงใด ซึ่งหากกำจัดเชื้อไวรัสที่ตกค้างอยู่ไม่สมบูรณ์ทางการแพทย์ก็จะใช้วิธีควบคุมระยะยาวและขึ้นอยู่กับว่าเชื้อไวรัสสามารถหลบซ่อนจากกระบวนการกำจัดหรือการควบคุมทางการแพทย์ได้เพียงใด และที่สำคัญเชื้อไวรัสยังสามารถแทรกแซงการกำจัดตัวมันเองได้ในแต่ละระยะของการควบคุมได้ดีแค่ไหน จึงเป็นสาเหตุบางส่วนที่อาจทำตัวผู้ป่วยสามารถกลับมาติดโควิดได้อีกครั้ง แต่อย่างที่กล่าวมาอาการกลับมาติดเชื้อใหม่ไม่ได้เกิดขึ้นบ่อยนัก จึงต้องมีการประเมินตามสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมของตัวผู้ป่วยเองว่ากลับไปอยู่ในพื้นที่เสี่ยงหรือไม่ ดังนั้นการวิเคราะห์สิ่งที่เกิดขึ้นว่าพบได้มากน้อยเพียงใดจะจำเป็นต้องทราบถึงพฤติกรรมไวรัสและการวิวัฒนาการของไวรัสที่มีผลต่อความรุนแรงของเชื้อไวรัส ต่อการปรับตัวของคนและสัตว์ชนิดต่าง ๆ มากขึ้นไปอีกหรือไม่ และต้องทราบกระบวนการทำงานต่อสู้ของเซลล์ ระบบน้ำเหลืองของผู้ป่วยและติดตามที่มาของการติดเชื้อเพื่อเฝ้าระวังลักษณะของโรคที่อาจผิดเพี้ยนไปจากเดิม ทั้งมหดนี้เป็นเพียงการวิเคราะห์คาดการณ์ส่วนหนึ่งซึ่งไม่หมดทั้งเดียว


ด้วยเหตุนี้จึงอาจทำให้เกิดความกังวลใจแก่ตัวผู้ป่วยเองหรือคนใกล้ชิดที่อาศัยร่วมกับผู้ป่วยที่หายจากการติดเชื้อไวรัส โควิด 19 ว่าหลังจากผู้ป่วยได้รับการรักษาจนหายเป็นปกติแล้วนั้นจะสามารถกลับมาดำเนินชีวิตตามปกติได้อีกหรือไม่ หรือทำกิจกรรมต่างๆได้มากน้อยเพียงใดและสามารถมีโอกาสกลับมาติดเชื้อโควิด 19 ซ้ำอีกหรือไม่ และสิ่งที่ตัวผู้ป่วยต้องคอยระมัดระวังเพิ่มเติมเมื่อกลับไปใช้ชีวิตตามปกติเพื่อลดการแพร่กระจายเชื้อที่มีโอกาสน้อยมากหลังจากรักษาหายเป็นระยะเวลา 14 วัน โดยในบทความนี้ได้นำเสนอถึงสิ่งที่ควรระวังและการรักษาสุขภาพของตัวผู้ป่วยหลังจากรักษาหายว่าต้องควรปฏิบัติตัวอย่างไรจึงจะเหมาะสม และวิธีการตรวจสอบอาการของตนเองหลังจากรักษาหายเพื่อให้แน่ใจว่าตัวผู้ป่วยที่เคยติดเชื้อไวรัสโควิด 19 จะไม่สามารถแพร่กระจายสู่ผู้อื่นได้อย่างแน่นอนและการใช้ชีวิตอย่างปลอดภัยเมื่อต้องอยู่ใกล้ชิดกับคนภายในบ้านโดยที่ไม่ส่งผลกระทบต่อจิดใจหรือความกังวลแก่ผู้ร่วมอาศัย

เป็นโควิด ไม่มีอาการแล้ว ยังมีเชื้ออยู่ในร่างกายหรือไม่??

เชื้อโควิด 19 ติดง่าย และระบาดอย่างรวดเร็วไปทั่วโลก ผู้ที่เป็นโควิด หรือมีประวัติเสี่ยงที่จะติดโควิด หลายๆ คนมีการปิดบังข้อมูลการเดินทาง หรือประวัติความเสี่ยงการติดเชื้อ เพราะกลัวว่าถ้าติดเชื้อเป็นผู้ป่วยโควิดแล้ว จะถูกสังคมรังเกียจ รวมถึงครอบครัว คนรอบข้างที่อาจติดเชื้อไปด้วย แม้จะพยายามระวัดระวังตัวเองแล้ว แต่หากติดโควิด และรักษาหายแล้ว จะทำไงต่อดีกับชีวิต ตัวผู้ป่วย ญาติมิตรสหายสนิท คงเกิดคำถามขึ้นในใจ ว่าจะใช้ชีวิตตามปกติอย่างไรดีหรือต้องใช้ แอลกอฮอล์ ล้างมือเท่านั้น



สำหรับผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจการติดเชื้อโควิดผลลัพธ์เป็นบวกแล้ว เมื่อเข้าการรักษา จนหายจากอาการไข้ขึ้น หรือไม่มีอาการป่วยใดๆ แล้ว ก็ยังคงมีเชื้ออยู่ในร่างกายได้ จากข้อมูลการวิจัยจากประเทศเยอรมัน พบว่า ผู้ติดเชื้อโควิด19 ในช่วง 10 วันแรก ผู้ป่วยที่อาการไม่รุนแรง จะตรวจพบเชื้อต่ำกว่าตอนตรวจเชื้อครั้งแรก แต่ในบางรายเมื่ออาการป่วยดีขึ้น แต่หลังจากเวลาผ่านไป กลับมามีอาการป่วยอีกครั้ง แสดงว่า อาการสามารถกลับไปกลับมาได้เสมอ

ส่วนผู้เชี่ยวชาญจากโรงพยาบาลอู่ฮั่น ประเทศจีน บอกว่า เชื้อไวรัสโควิด 19 จะอยู่ในร่างกายของผู้ที่หายแล้วไปได้อีกถึงสองสัปดาห์ เพราะฉะนั้น การที่ผู้ป่วยไม่มีอาการใดๆ แล้ว ยังไม่สามารถบ่งบอกว่ามีเชื้อในร่างกายอยู่หรือไม่ เพราะฉะนั้นถึงแม้ได้รับการรักษาจนไม่มีอาการป่วยแล้ว ยังควรกักตัว และตรวจเชื้อซ้ำ เพื่อให้มั่นใจว่าในร่างกายไม่มีเชื้อ อยู่แล้วจริงๆ จึงสามารถใช้ชีวิตปกติได้ แต่อย่างไรก็ตาม ควรใช้ชีวิตด้วยความระมัดระวัง โดยการล้างมือด้วยเจลล้างมือ หรือสบู่บ่อยๆ ทำความสะอาดพื้นผิว จุดเสี่ยงต่างๆ ที่ต้องใช้ร่วมกัน พก กันดะ ไธม์มาย แอลกอฮอล์ซานนิไทเซอร์สเปรย์ เป็นแอลกอฮอล์สเปรย์ขนาดพกพาพกติดตัวไว้เพื่อใช้ได้กับผิวหนังเช่นมือ และใช้ได้กับทุกพื้นผิวที่ต้องการทำความสะอาด ปกป้องอันตรายจากเชื้อโรคไวรัสและแบคทีเรีย ฆ่าเชื้อโควิด 19


ตอบ 5 ข้อสงสัยเมื่อหายปวดแล้วเป็นได้อีกหรือไม่ ?

  1. สามารถตรวจสอบอัตราตัวเลขการฟื้นตัวเมื่อผู้ปวดหายไข้หรือยัง จากการตรวจสอบเราพบว่าตัวเลขอัตราการเสียชีวิตอยู่ที่ประมาณร้อยละ 4 ซึ่งในความเป็นจริงนั้นอาจมีค่าที่ต่ำกว่านี้ เนื่องจากผู้ป่วยบางรายมีอาการที่ไม่รุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต

  2. ผู้หายจากการไข้จะยังสามารถติดเชื้อได้อีกหรือไม่ จากการศึกษาในตัวอย่างจากตัวผู้ติดเชื้อที่รักษาหายแล้วนั้นพบว่าในบางรายังคงมีเชื้ออยู่ในร่างกาย ซึ่งยังคงเป็นเรื่องที่ต้องศึกษาไปอีกนานเนื่องจากตัวไวรัสเองนั้นสามารถพัฒนาตัวมันเองได้ตลอดเวลา และข้อมูลจากภายนักวิจัยประเทศเยอรมนีค้นพบว่าการติดเชื้อโควิด 19 มีความแตกต่างตรงกันข้ามกับโรคชาร์ส ที่แพร่ระบาดครั้งใหญ่ในปี 2546

  3. ถ้าเคยติดเชื้อโควิด 19 แล้วจะสามารถเป็นได้อีกหรือไม่ เมือใดก็ตามที่เราตรวจพบว่าติดเชื้อโควิด 19 นั้นหมายความร่างกายจะสร้างระบบภูมิคุ้มกันเพื่อมาต่อสู้กับเชื้อโรคชั่วคราว หรือสร้างเพื่อต้านทานเชื้อไวรัสอย่างต่อเนื่อง แต่ได้มีการค้นพบว่าการติดเชื้อซ้ำในรอบที่สองเกิดขึ้นในกลุ่มหญิงชาวญี่ปุ่นวัย 40 ปี จากโอซาก้าและตรวจพบในกลุ่มผู้โดยสารบนเรือ Diamond Princess และอีกคนเป็นชายชาวเกาหลีใต้ แต่พบมากสุดในมณฑลกวางตุ้งประเทศจีนสำหรับผู้ติดเชื้อโควิด 19 รอบที่สองสูงถึง 14%

  4. ภูมิคุ้มกันเชื้อไวรัสโควิด 19 สามารถอยู่ได้นานแค่ไหน ผู้อำนวยการแพทย์มหาวิทยาลัยฮ่องกง กล่าวไว้ว่า “หากผู้ป่วยที่ติดเชื้อทั่วไป ร่างกายของของคุณจะสามารถสร้างภูมิคุ้มกันเชื้อไวรัสนั้น แต่หากเกิดการติดเชื้อซ้ำแปลว่าเกิดความผิดปกติในการเสริมสร้างระบบภูมิคุ้มภายในร่างกายที่อาจทำงานไม่ถูกต้อง”

การปฎิบัติตนที่เหมาะสมสำหรับผู้หายจากอาการติดเชื้อไวรัสโควิด 19

  1. เว้นระยะห่างจากคนภายในบ้านระหว่างช่วง 1-2 เมตร และรวมถึงการรับประทานอาหาร

  2. แยกห้องนอนกับคนภายในบ้านเพื่อลดแพร่เชื้อแม้จะมีโอกาสที่น้อยก็ตาม

  3. ไม่ใช้ของใช้ส่วนตัวร่วมกันและแยกอุปกรณ์รับประทานอาหาร เช่น ใช้ช้อนกลางในการรับประทานอาหารร่วมกัน

  4. ไม่นำเสื้อผ้ามาซักรวมกัน ควรแยกซักผ้าจากผู้ป่วยอย่างชัดเจนชั่วคราว

  5. ทำความสะอาดพื้นที่ที่มีการทำกิจกรรมร่วมกันบ่อยๆ

  6. ผู้ป่วยที่หายจากการติดเชื้อไม่ควรกลับเข้าไปในพื้นที่เสี่ยง เพื่อป้องกันการได้รับเชื้อโควิด 19 ซ้ำอีกรอบ

  7. แยกขยะที่มีสารคลั่งหลั่งออกจากขยะประเภทอื่นๆ ละควรใส่ถุงป้องกัน 2 ชั้น เพื่อลดการแพร่จายสู่สิ่งอื่น

  8. ใส่หน้ากากทุกครั้งที่ออกจากบ้านหรือทุกครั้งที่พบป่ะผู้คน และควรเปลี่ยนหรือความสามารถหน้ากากเป็นประจำในกรณีที่ใช้หน้ากากที่ทำจากผ้า

  9. ลดการสัมผัสบนใบหน้า เนื่องจากบนฝ่ามืออาจเป็นแหล่งสะสมของเชื้อโรคหลายประเภท

  10. มั่นล้างมือให้สะอาดหรือล้างด้วย เจลล้างมือ แอลกอฮอล์ยีห้อ KANDA TIMEMILD HAND SANITIZER กันดะ ไธม์มาย แฮนด์ซานนิไทเซอร์ เจลแอลกอฮอล์ล้างมือที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ 72.4%v/v ไม่ระคางเคืองต่อผิวที่บอกบาง

วิธีเช็คว่าผู้ป่วยโควิด 19 จะไม่สามารถแพร่เชื้อได้อีก

  1. ผู้หายจากการติดเชื้อมีอาการดีขึ้น ไม่มีอาการ ไอ จามหรือน้ำมูกหลังจากที่หายแล้ว

  2. ผู้หายจากติดเชื้อเป็นระยะเวลา 14 วันหลังจากตรวจพบอาการ จะมีโอกาศน้อยมากสำหรับการแพร่เชื้อครั้งต่อไป

หลังผู้ป่วยที่รักษาหายจากอาการติดเชื้อไวรัสโควิด 19 อาจส่งผลให้มีร่างกายทรุดโทรมรวมถึงใบหน้าที่หมองคล้ำ หรือมีอาการสิวขึ้นเนื่องจากร่างกายขาดความสมดุล เราจึงขอนำเสนอบทความเรื่อง รักษาสิว ยังไงให้ได้ผล ตามลิ้งที่อยู่นี้ค่ะ

 

อ่านเพิ่มเติม ได้ที่ โควิด ไม่มีอาการแล้ว


ติดตามอ่านบทความดีๆ ได้ที่ beautymustknow.com


เจลล้างมือ แอลกอฮอล์ 72% มีวางจำหน่ายแล้วทั่วประเทศ สอบถามข้อมูลและเลือกซื้อสินค้าเพิ่มเติมได้ที่ Facebook : https://www.facebook.com/pg/kandabeauty.company/ website : Kandabeauty.com

ดู 4 ครั้ง0 ความคิดเห็น

Comentarios


bottom of page